หน้าเว็บ
home
math
social
english
chemistry
biology
Pawinee
วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
กาพย์ฉบัง 16
แผนผังกาพย์ฉบัง
16
กาพย์ฉบัง
เป็นคำประพันธ์ประเภท
กาพย์
บทหนึ่งมีเพียงหนึ่งบาท บาทละ
3
วรรค
บังคับจำนวนคำและสัมผัส ไม่มีบังคับเอก-โท หรือครุ-ลหุ กาพย์ฉบังที่กวีนิยมใช้ในวรรณกรรมตั้งแต่โบราณคือ
กาพย์ฉบัง
16
อ่านต่อ...
โคลงสี่สุภาพ
แผนผังโคลงสี่สุภาพ
“
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง
…….
อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร
……….
ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล
………..
ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า
…………….
อย่าได้ถามเผือฯ
”
อ่านต่อ...
วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556
มงคลสูตรคำฉันท์
เป็นวรรณคดี
คำสอน
ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรมที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ไพเราะ
มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย
สามารถจดจำได้ง่าย
มงคลสูตรคำฉันท์นี้จะเกิดแต่ตัวเราเองได้ก็ต้องเป็นผลมาจากการประพฤติปฏิบัติดีของตนเองเท่านั้น
หาได้มาจากปัจจัยอื่นเลย
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลักษณะคำประพันธ์
กาพย์ฉบัง
16
และอินทรวิเชียรฉันท์
11
แทรกคาถาบาลี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อให้ตระหนักว่าสิริมงคลจะเกิดแก่ผู้ใดก็เพียงผลมาจากการปฏิบัติของตนทั้งสิ้น
ไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่เราได้
นอกจากตัวเราเอง
ความเป็นมา
เมื่อ พ.ศ.
2466
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงนำมงคลสูตร
มาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเภทคำฉันท์
โดยใช้คำประพันธ์
2
ชนิด
คือ
กาพย์ฉบัง
16
และอินทรวิเชียรฉันท์
11
ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง
แล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรองภาษาไทย
ได้ถูกต้องตรงตามบังคับในฉันทลักษณ์
โดยไม่เสียเนื้อความจากพระคาถาบาลี
การจัดวางลำดับของมงคลแต่ละข้อก็เป็นไปตาม
ที่ปรากฏอยู่ในพระคาถาเดิม
ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาได้อย่างดียิ่ง
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)